วันอังคารที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2562

รวมผัก-สมุนไพรที่สามารถรักษา บรรเทาเบาหวานได้





 มะระขี้นก
การศึกษาทางคลินิก ในผู้ป่วยเบาหวาน
มะระจีนและมะระขี้นกในรูปแบบต่างๆ เช่น น้ำคั้น สารสกัด หรือผงแห้ง ช่วยลดน้ำตาลในเลือดได้
- การดื่มน้ำคั้นจากผลขนาด 50 และ 100 มล. วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า-เย็น เป็นเวลา 7 วัน
- การรับประทานสารสกัดน้ำ (เตรียมโดยนำผลสด 100 ก. ต้มในน้ำ 200 มล. จนกระทั่งปริมาตรน้ำลดเหลือ 100 มล.) เพียงครั้งเดียวในตอนเช้า เป็นเวลา 21 วัน พบว่าช่วยลดน้ำตาลในเลือดได้
แต่เนื่องจากมีข้อควรระวังการใช้ร่วมกับยาแผนปัจจุบัน เพราะอาจไปเสริมฤทธิ์กัน ทำให้น้ำตาลในเลือดต่ำเกินไปได้ และไม่แนะนำให้ผู้ที่มีการทำงานของตับผิดปกติรับประทาน เนื่องจากมีผู้ป่วยบางรายที่รับประทานมะระแล้วมีค่า ALT และ AST ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของตับสูงขึ้น โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องฉีดอินซูลินควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด จึงแนะนำให้รับประทานในรูปแบบของอาหาร ในปริมาณปกติ ห้ามรับประทานผลและเมล็ดสุก เพราะมีพิษ



ตำลึง
การศึกษาทางคลินิก ในอาสาสมัครสุขภาพดี รับประทานอาหารเช้าที่ประกอบด้วยใบตำลึง 20 กรัม ผสมกับมะพร้าวและเกลือ เปรียบเทียบกับกลุ่มที่รับประทานอาหารเช้าที่ไม่มีใบตำลึง พบว่ากลุ่มที่รับประทานอาหารซึ่งมีใบตำลึงเป็นส่วนประกอบ มีระดับน้ำตาลในเลือดลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม แสดงว่าใบตำลึงมีผลลดระดับน้ำตาลในเลือดได้



ผักเชียงดา
การศึกษาทางคลินิก มีผลลดน้ำตาลในเลือดได้ดีในคนปกติ แต่ข้อมูลการศึกษาในผู้ป่วยเบาหวานค่อนข้างน้อย อย่างไรก็ตาม ผักเชียงดาเป็นผักพื้นบ้านที่มีการรับประทานเป็นอาหารมาช้านาน และยังไม่ปรากฏรายงานความเป็นพิษจากการรับประทานทั้งในรูปของอาหาร จึงอาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมระดับน้ำตาลขั้นต้น



ชาใบหม่อน
การศึกษาทางคลินิก
- การดื่มชาใบหม่อนขนาด 100 มล. (ใบหม่อน 2 ก. ชงในน้ำร้อน 100 มล. ทิ้งไว้ 12 นาที) หรือน้ำอุ่นขนาด 100 มล. พบว่ากลุ่มที่ได้รับชาใบหม่อนมีแนวโน้มของระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่ากลุ่มที่ดื่มน้ำอุ่นซึ่งเป็นกลุ่มควบคุม
- มีรายงานระบุว่าแคปซูลผงใบหม่อน สารสกัดใบหม่อน มีผลลดระดับน้ำตาลในเลือดได้แต่ควรระวังการเสริมฤทธิ์กันกับยาแผนปัจจุบัน


สรุป
มีสมุนไพรหลายชนิดมีฤทธิ์ในการลดระดับน้ำตาลในเลือด แต่เนื่องจากผู้ป่วยเบาหวาน จำเป็นต้องควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติที่สุด จึงควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และถ้าหากผู้ป่วยได้รับยาแผนปัจจุบันอยู่ ควรระมัดระวังการเสริมฤทธิ์ของสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน อาจส่งผลให้น้ำตาลลดต่ำลงเกินไป และเกิดอันตรายได้ หากจะใช้สมุนไพร แนะนำให้รับประทานในรูปแบบของอาหารหรือชา ควบคู่กับการรับประทานผักและผลไม้น้ำตาลน้อย ออกกำลังกายตามความเหมาะสม


เอกสารอ้างอิง :
- ฐาน PHARM
- หนังสือสารพันคำถามฮิต สรรพคุณสมุนไพร




อายุ 42 ปี ผมเริ่มหงอกมีสีขาว จะมีวิธีใดช่วยชลอการหงอกก่อนวัย หรือมีตัวยาสมุนไพรชนิดใดช่วยได้ โปรดแจงให้กระจ่าง







 การรับประทานอาหารซึ่งมีวิตามินและเกลือแร่ที่มีประโยชน์ต่อเส้นผมและหนังศีรษะ จะช่วยชะลอการหงอกของผมได้ เช่น
               -ทองแดง พบมากในถั่วฝักยาว ถั่วแขก ถั่วลันเตา เมล็ดทานตะวัน ลูกเกด ลูกพลับ กล้วยตาก แครอท หัวไชเท้า เผือก มัน ผลไม้สดทุกชนิด
-ไอโอดีน พบมากในอาหารทะเลทุกชนิด และอาหารที่ปรุงด้วยเกลือไอโอดีน
-เหล็ก มีมากในปลา ลูกเกด ผักใบเขียว เช่น คะน้า ตำลึง กวางตุ้ง ผักบุ้ง ผักพื้นบ้าน เช่น มะเขือพวง ใบชะพลู ผักโขมหนาม และผักกูด
-กรดโฟลิก พบมากในถั่วต่างๆ เช่น ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วแดง ถั่วดำ ผักใบเขียวเข้ม เช่น คะน้า ตำลึง ผักบุ้ง กวางตุ้ง แครอท ฟักทอง ไข่แดง และตับ
-กรดแพนโทเทนิก หรือวิตามินบี 5 พบมากในข้าวกล้อง ข้าวโอ๊ต ข้าวโพด แอ๊ปเปิ้ล
-พาบา อยู่ในกลุ่มวิตามินบีรวม ซึ่งเป็นวิตามินเทียมที่ละลายในน้ำ พบมากในจมูกข้าวสาลี ข้าวกล้อง โยเกิร์ต และผักใบเขียว
-ไบโอติน เป็นหนึ่งในกลุ่มวิตามินบีคอมเพล็กซ์ พบมากในอาหารจำพวกถั่วเหลือง และซีเรียล
               สำหรับสมุนไพรช่วยชะลอผมหงอกที่มีการใช้ภายนอก เช่น น้ำคั้นใบย่านาง วุ้นว่านหางจระเข้ น้ำคั้นบัวบก และกะเม็ง เป็นต้น

มีตัวยาสมุนไพร ชนิดใดบ้างช่วยกระตุ้นฮอร์โมนเพศได้บ้าง รับประทานอย่างไร



 มีตัวยาสมุนไพร ชนิดใดบ้างช่วยกระตุ้นฮอร์โมนเพศได้บ้าง รับประทานอย่างไร


สมุนไพรที่มีรายงานว่ามีฤทธิ์เพิ่มฮอร์โมนเพศชาย testosterone ในสัตว์ทดลอง

ได้แก่ มะระขี้นก เกากี่ฉ่าย ผักปลังขาว ตำลึง เป็นต้น

ส่วนสมุนไพรที่มีการศึกษาทางคลินิกโดยพบว่ามีผลทำให้พฤติกรรมทางเพศดีขึ้น หรือมีผลเพิ่มฮอร์โมน testosterone

ได้แก่ ปลาไหลเผือก โสมเกาหลี แป๊ะก๊วย หญ้าฝรั่น ทับทิม กวาวเครือแดง เห็ดหลินจือ หนามกระสุน และหอมหัวใหญ่

ซึ่งส่วนใหญ่รายงานว่าใช้ได้ผลดี แต่เนื่องจากงานวิจัยยังมีน้อย ทำให้ยังขาดเรื่องขนาดและวิธีการรับประทานที่เหมาะสม รวมทั้งเรื่องความปลอดภัยด้วย

ราก เถา ตำลึง ส่งวันที่ 16-17/12-62













วันเสาร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2562

ตำลึงรักษาเบาหวาน

 ตำลึงรักษาเบาหวาน  0809898770

 ตำลึงรักษาเบาหวาน

สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เผยงานวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า ตำลึงเป็นผักที่มีสารต้านอนุมูลอิสระอย่างฟลาโวนอยด์ค่อนข้างสูง สามารถช่วยรักษาและป้องกันโรคต่าง ๆ ได้ ทั้งโรคเบาหวาน เนื่องจากมีงานวิจัยที่พบว่าตำลึงช่วยลดน้ำตาลในเลือดได้ ส่วนในใบตำลึงก็มีสารต้านอนุมูลอิสระอยู่หลายชนิด จึงช่วยป้องกันการเกิดโรคมะเร็งได้นั่นเอง

ทั้งนี้การกินตำลึงเพื่อลดน้ำตาลในเลือด สามารถทำได้โดยใช้เถาแก่ของตำลึงประมาณครึ่งถ้วย นำมาต้มกับน้ำ หรือนำน้ำคั้นจากผลตำลึงดิบ ๆ ดื่มวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น น้ำตำลึงก็จะช่วยลดน้ำตาลในเลือดได้





วันศุกร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562

รากตำลึง บำรุงสายตา ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันให้เราไม่ป่วยไข้ได้ง่าย ตำลึงรักษาเบาหวาน บำรุงกระดูก ช่วยย่อยอาหาร




สรรพคุณทางตัวยานั้นดิฉันและสามีลองทานมาด้วยตัวเองแล้วเห็นอาการใด้ชัดเจนมากจึงนำมาแบ่งปันค่ะ
1.บำรุงสายตา
2.แก้ปวดหลังเจ็บเอว
3.รักษาและกระชับมดลูกในสตรี
4.แก้สมรรถภาพทางเพศเสื่อมสำหรับคุณผู้ชาย
5.ปรับอารมณ์ทางร่างกายและจิตใจให้สม่ำเสมอไม่หงุดหงิดง่าย



..ส่วนประกอบมีดังนี้ค่ะ
รากตำลึงเอารากที่ฝังในดินนะคะไม่ใช่ที่เลื้อยอยู่บนดินค่ะ สำหรับรากตำลึงนั้นยิ่งมีอายุมากรากจะใหญ่มากหัวจะคล้ายโสมค่ะและสรรพคุณก็ยิ่งสูงค่ะและก็ตามด้วยน้ำผึ้งแท้และเหล้าขาวค่ะ
วิธีทำมีดังนี้ค่ะ
นำรากตำลึงที่ขุดมาล้างให้สะอาดขูดเอาผิวรอบนอกออกแล้วตากแดดให้แห้ง เมื่อตากแดดแห้งแล้วต้องทำเลยนะคะอย่าค้างใว้หลายวันให้โดนน้ำฝนเด็ดขาดเพราะจะทำให้เกิดเชื้อราและเสียประโยชน์นำมาใช้ไม่ใด้อีกแล้วต้องทิ้งไปค่ะ
นำมาหั้นเป็นท่อนใส่ในขวดแก้วขวดอะไรก็ใด้ที่มีในบ้าน ขวดโหล ขวด เหล้า ก็ใด้ค่ะ ใส่ให้เต็มขวดเลยนะคะ ตามด้วยเหล้าขาว จะใช้กี่ขวดนั้นขึ้นอยู่กับความจุของขวดค่ะตามด้วยน้ำผึ้งแท้1ช้อนโต๊ะ ไม่แนะนำให้ใส่น้ำผึ้งเยอะค่ะเพราะจะทำให้รสชาติออกมาหวานเลี่ยนเวลาทานจะทำให้แสบคอและเกิดอาการอยากอาเจียนค่ะ ใส่ให้พอเป็นยาก็พอค่ะ หลังจากนั้นดองใว้45วัน เมื่อครบกำหนดแล้วจะมีกลิ่นที่หอมกลิ่นเหล้าขาวจะหมดไป สำหรับคุณผู้หญิงแนะนำให้ดื่มแค่วันละ1เป็กในตอนเช้าขณะท้องว่าง สำหรับคุณผู้ชายแนะนำให้ดื่มวันละ2เป็กคือช่วงเช้าขณะท้องว่างและช่วงเย็นค่ะ
เมื่อทานจะรู้สึกร้อนๆในคอค่ะทานไปเรื่อยๆคุณจะเห็นผลถึงความเปลี่ยนเเปลงชัดเจนขึ้นค่ะ สามีดิฉันอายุ52ปีแล้วตอนแรก มีปัญหาทางสายตามองไม่ค่อยเห็นและปวดหลังปวดเอว เมื่อทานยาตัวนี้ไปสักพักปัจจุบันตัวหนังสือเล็กๆในนิยายอ่านใด้หมดเลยค่ะทั้งหมดที่กล่าวมานี้ดิฉันและสามีทดลองเองและใด้ผลค่ะเคยแนะนำไปหลายคนแล้ว






วันศุกร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

ยาดองเหล้า บำรุงเพศชาย รากตำลึงบำรุงสายตา เบาหวานลดฮวบๆ









สรรพคุณของตำลึง

1. บำรุงสายตา
 
          แหล่งวิตามินเอที่สำคัญที่เราสามารถหาได้จากอาหารก็ต้องยกให้ตำลึงเป็นแหล่งที่ดีของวิตามินเอเลยล่ะค่ะ และนอกจากวิตามินเอแล้ว เบต้าแคโรทีนในตำลึงยังเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่สามารถเปลี่ยนตัวเองเป็นวิตามินเอได้อีก ดังนั้นตำลึงจึงจัดเป็นอาหารบำรุงสายตาตัวจี๊ดที่หากินได้ง่าย ๆ แถมยังอร่อยด้วย

          - 10 วิตามินบำรุงสายตา ตาพร่า ตามัว ดูแลด้วยอาหารใกล้ตัวตามนี้ !

2. เสริมภูมิต้านทาน
   
          จะเห็นได้ว่าตำลึงมีวิตามินเอและเบต้าแคโรทีนซึ่งเป็นสารตั้งต้นของวิตามินเอค่อนข้างสูง ส่วนนี้จะช่วยเสริมภูมิคุ้มกันให้เราไม่ป่วยไข้ได้ง่าย ๆ โดยเฉพาะอาการไข้หวัด ซึ่งหากร่างกายขาดวิตามินเอ ก็มีโอกาสจะป่วยไข้ได้ง่ายเลยนะคะ

3. ตำลึงรักษาเบาหวาน

          สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เผยงานวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า ตำลึงเป็นผักที่มีสารต้านอนุมูลอิสระอย่างฟลาโวนอยด์ค่อนข้างสูง สามารถช่วยรักษาและป้องกันโรคต่าง ๆ ได้ ทั้งโรคเบาหวาน เนื่องจากมีงานวิจัยที่พบว่าตำลึงช่วยลดน้ำตาลในเลือดได้ ส่วนในใบตำลึงก็มีสารต้านอนุมูลอิสระอยู่หลายชนิด จึงช่วยป้องกันการเกิดโรคมะเร็งได้นั่นเอง

          ทั้งนี้การกินตำลึงเพื่อลดน้ำตาลในเลือด สามารถทำได้โดยใช้เถาแก่ของตำลึงประมาณครึ่งถ้วย นำมาต้มกับน้ำ หรือนำน้ำคั้นจากผลตำลึงดิบ ๆ ดื่มวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น น้ำตำลึงก็จะช่วยลดน้ำตาลในเลือดได้

ตําลึง

4. บำรุงกระดูก

          จากการศึกษาของสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ใบตำลึงมีแคลเซียมสูง และแคลเซียมจากตำลึงยังเป็นแคลเซียมชนิดที่ร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้ได้เทียบเท่ากับแคลเซียมที่อยู่ในนมวัว ดังนั้นผู้ที่มีอาการแพ้นมวัว หรือดื่มนมแล้วท้องเสียก็สามารถหันมารับแคลเซียมจากตำลึงแทนได้เช่นกัน

5. แก้อาการแสบคันจากแมลงสัตว์กัดต่อย

          ใบตำลึงมีฤทธิ์เย็น ช่วยดับพิษร้อนจากแมลงสัตว์กัดต่อยได้ในระดับหนึ่ง โดยให้ล้างแผลด้วยน้ำไหลให้สะอาด จากนั้นใช้ใบตำลึงไม่แก่จัดหรืออ่อนจัดจนเกินไป ล้างใบตำลึงให้สะอาด จากนั้นขยี้ใบตำลึงแล้วมาประคบผิวบริเวณที่ถูกแมลงสัตว์กัดต่อยสักพัก อาการแสบคันจะบรรเทาขึ้น แต่หากอาการแสบร้อนยังไม่หาย ให้หมั่นเปลี่ยนใบตำลึงบ่อย ๆ แต่หากอาการแสบร้อนหาย แต่อาการคันไม่หาย แนะนำให้ใช้ยาทาแก้คันแผนปัจจุบันร่วมด้วย

6. ช่วยย่อยอาหาร

          ใบตำลึงและเถาตำลึงมีเอนไซม์อะไมเลสอยู่มาก ซึ่งเอนไซม์ตัวนี้มีคุณสมบัติช่วยย่อยอาหารจำพวกแป้งได้ดี ดังนั้นใครมีอาการแน่นท้อง ท้องอืดจากอาหารไม่ย่อย โดยเฉพาะคนที่กินแป้งเข้าไปมาก ๆ ให้ใช้ใบตำลึงประมาณ 1 กำมือ ผสมกับเถาตำลึงเด็ดขนาดเท่านิ้วก้อย 1 กำมือ โขลกรวมกันจนเป็นเนื้อเดียว จากนั้นคั้นเอาแต่น้ำตำลึงมาผสมน้ำอุ่น 1 แก้วกาแฟ กินก่อนอาหารประมาณ 5-10 นาที เพื่อเรียกน้ำย่อย หรือจะใช้ใบตำลึงแก่ลวกพอสุก กินเป็นผักเคียงพร้อมกับอาหารในแต่ละมื้อเลยก็ได้

วันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

รากตำลึง ไวอากร้าเมืองไทย รักษาและกระชับมดลูกในสตรี สมรรถภาพทางเพศเสื่อม...

 💕“รากตำลึง”..ฉายา “ไวอากร้าเมืองไทย” และ “โสมไทย”
✍️บรรจุซองชา 100 ซอง 490 บาท
✍️ราคาแบบแห้ง 450 บาท/กก
✍️ราคาแบบบด 500 บาท/กก
✍️ราคา แบบแคปซูล 200 เม็ด 490บาท
(ทุกรายการ ส่งฟรี) โทร+ไลน์ 0809898770







การศึกษาทางเภสัชวิทยา

ฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด สารสกัดจากส่วนต่างๆ ของตำลึง ได้แก่ ใบ ผล เถา ส่วนเหนือดิน และราก มีผลลดน้ำตาลในเลือดได้ดีเทียบเท่าหรือดีกว่ายาแผนปัจจุบัน โดยสารสกัดตำลึงมีฤทธิ์กระตุ้นการนำกลูโคสเข้าสู่เซลล์ เพิ่มระดับอินซูลิน ทำให้มีการสังเคราะห์ไกลโคเจนเพิ่มขึ้น และลดการเปลี่ยนไกลโคเจนมาเป็นกลูโคสเป็นผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง

          การศึกษาในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานระยะเริ่มต้น (ระดับน้ำตาลในเลือด 110-180 มก. /ดล.) ซึ่งได้รับสารสกัด 50% อัลกอฮอล์จากใบและผล ขนาด 1 ก./วัน  เป็นเวลา 90 วัน พบว่าผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร 8 ชั่วโมง (fasting blood glucose) และหลังจากรับประทานอาหารไปแล้ว 2 ชั่วโมง (post-prandial blood glucose) ลดลงร้อยละ 16 และ 18 ตามลำดับ และยังมีผลลดน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด (HbA1c) แต่ไม่มีผลต่อระดับไขมันในเลือด และไม่มีผลข้างเคียงที่เป็นอันตราย เมื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานรับประทานยาเม็ดผงแห้งจากใบตำลึง ครั้งละ 3 เม็ด วันละ 2 ครั้ง นาน 6 สัปดาห์ จากนั้นทำการทดสอบความทนทานต่อน้ำตาล (oral glucose tolerance test) โดยให้กลูโคส 50 ก. วัดระดับน้ำตาลในเลือดก่อนและหลังทำการทดสอบ พบว่าผู้ป่วยมีความทนต่อกลูโคสดีขึ้น และไม่พบความผิดปกติของน้ำหนักตัว ค่าทางโลหิตวิทยา เอนไซม์แอสพาร์เทตทรานส์อะมิเนส (aspartate transaminase) อะลานีนทรานส์อะมิเนส (ala-nine transaminase) ยูเรีย และไตของผู้ป่วย และในผู้ป่วยเบาหวานที่รับประทานสารสกัดจากตำลึง (ไม่ระบุส่วนที่ใช้และตัวทำละลาย) ขนาด 500 มก./กก. เป็นเวลา 6 สัปดาห์ พบว่าสารสกัดมีผลลดระดับของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสลายกลูโคส ได้แก่ กลูโคส-6-ฟอสฟาเตส (glucose-6-phosphatase) และแลกเตตดีไฮโดรจิเนส (lactate dehydrogenase) และเพิ่มระดับของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสลายไขมัน คือ ลิโปโปรตีนไลเปส (lipoprotein lipase) แสดงว่าสารสกัดจากตำลึงทำหน้าที่คล้ายกับอินซูลินในยับยั้งการสร้างน้ำตาลและกระตุ้นการสลายไขมัน ซึ่งช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดผู้ป่วยได้

            นอกจากนี้งานวิจัยในสัตว์ทดลองที่ประเทศอินเดีย พบว่า สารสกัดน้ำ สารสกัดแอลกอฮอล์ และผงแห้งบดของใบและเถาตำลึง แสดงฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดของหนูปกติ หนูที่อดอาหาร และหนูที่เป็นเบาหวานเนื่องจากได้รับสาร streptozotocin (STZ)  เมื่อหนูที่เป็นเบาหวานดังกล่าวได้รับสารสกัดเอทานอลใบตำลึง ๒๐๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม ติดต่อกัน ๔๕ วัน พบว่าระดับน้ำตาลในเลือดลดลงระดับอินซูลินเพิ่มขึ้น เพิ่มการออกซิเดชันของกลูโคสในตับและเม็ดเลือดแดง ลดกลูโคนีโอเจเนซิสระดับไขมันและกรดไขมันในเลือดลดลง มีปริมาณวิตามินซีในพลาสมาเพิ่มขึ้น มีปริมาณเอนไซม์กำจัดสารพิษเพิ่มขึ้นทั้งกลูตาไทโอนเปอร์ออกซิเดส และกลูตาไทโอน เอส ทรานสเฟอเรส งานวิจัยชิ้นอื่น พบว่า ผงแห้งบดของใบและเถาตำลึงแสดงฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด ทั้งในสุนัขปกติและสุนัขเบาหวาน  สารสกัดน้ำและแอลกอฮอล์ของรากตำลึง แสดงฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดในกระต่ายปกติ สารสกัดแอลกอฮอล์ที่ 250 มิลลิกรัม/กิโลกรัม แสดงฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดในหนูที่อดอาหาร นอกจากนี้ สารเพ็กทิน จากผลตำลึงที่ 200 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมในหนู ปกติแสดงฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด เพิ่มการทำงานของเอนไซม์ ไกลโคเจนซินทีเตส และเพิ่มปริมาณไกลโคเจนในตับ

และ ปี พ.ศ. 2546 ทีมผู้วิจัยจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ทำการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับพืชอาหารและสมุนไพรที่ใช้ลดระดับน้ำตาลในเลือด พบว่าตำลึง และโสมอเมริกันเป็นพืชที่มีข้อมูลสนับสนุนประสิทธิภาพด้านนี้ดีที่สุด การทดลองทางคลินิก (แบบ double-blind ขนานกัน 2 กลุ่ม) ในประเทศบังกลาเทศพบว่า เมื่อให้ผงแช่แข็งแห้งของใบตำลึงวันละ 1.8 กรัมกับผู้ป่วยเบาหวาน ชนิด 2 นาน 6 เดือนประกอบกับการควบคุมอาหาร พบว่า ค่าน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร (fasting plasma glucose) ของกลุ่มผู้ป่วยลดลง จาก 178.8 เป็น 122.1 และค่าน้ำตาลในเลือดแบบสุ่ม (random plasma glucose) จาก 245.4เป็น 186.9 โดยกลุ่มควบคุมไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญเช่นนี้

ฤทธิ์แก้ปวด  เมื่อฉีดสารสกัดน้ำจากใบ ขนาด 25, 50, 100, 200 และ 300 มก./กก. เข้าทางช่องท้องของหนูเม้าส์ที่ถูกเหนี่ยวนำให้ปวดด้วยวิธี tail flick test เปรียบเทียบผลกับมอร์ฟีน ขนาด 2 มก./กก. และยาไอบูโปรเฟน (ibuprofen) ขนาด 20 มก./กก. พบว่าสารสกัดมีฤทธิ์แก้ปวดได้ โดยที่ขนาด 300 มก./กก. จะมีฤทธิ์ดีใกล้เคียงกับมอร์ฟีน สารสกัดน้ำจากใบ ขนาด 1 ก./กก. ผงน้ำคั้นจากผลสด ขนาด 50-200 มก./กก. มีฤทธิ์แก้ปวดในหนูเม้าส์ที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยวิธี acetic acid-induced writhing tail flick test และด้วยเครื่อง analgesy meter

ฤทธิ์ต่อการฝังตัวของตัวอ่อน การศึกษาในหนูแรทเพศเมียน้ำหนัก 200-250 กรัม ที่เหนี่ยวนำให้มีโปรแลคติน (prolactin) ในเลือดสูง (hyperprolactinemia) หรือเหนี่ยวนำให้มีฮอร์โมนเพศชาย หรือเหนี่ยวนำให้เป็นโรคเยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ (endometriosis) ซึ่งทำให้มีลูกยาก แบ่งหนูออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มควบคุมป้อนน้ำเกลือ (normal saline) 1 มล./กก. กลุ่มที่ 2 ป้อนยาแผนปัจจุบัน bromocriptine เพื่อกระตุ้นให้ไข่ตก ซึ่งมีฤทธิ์ต้านการหลั่งฮอร์โมน prolactin ขนาด 30 มก./กก. หรือยา clomiphene citrate ที่มีฤทธิ์กระตุ้นให้ไข่ตกแต่มีฤทธิ์ต้านฮอร์โมนเอสโตรเจน หรือยา danazol ซึ่งเป็นยารักษาโรคเยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ กลุ่มที่ 3 และ 4 เป็นกลุ่มที่ป้อนสารสกัดน้ำของตำลึงขนาด 500 มล./กก. (ขนาดต่ำ) และ 1,000 มล./กก. (ขนาดสูง) ตามลำดับ ทำการศึกษาทั้งสิ้นนาน 3 รอบของการมีรอบเดือน พบว่าหนูแรทที่ได้รับยาแผนปัจจุบัน bromocriptine และกลุ่มที่ได้รับสารสกัดน้ำของตำลึงขนาดสูง 1,000 มล./กก. จำนวนครั้งการฝังตัวที่มดลูกเท่ากับ 6.4 ? 1.94 และ 6.0 ? 0.75 ตามลำดับ ในขณะที่กลุ่มควบคุมมีค่าเท่ากับ 0.6 ? 0.4 ส่วนกลุ่มที่ได้รับสารสกัดน้ำของตำลึงขนาดต่ำ 500 มล./กก. จำนวนครั้งการฝังตัวที่มดลูกเท่ากับ 5.0 ? 0.70 ซึ่งได้ผลน้อยกว่ายาแผนปัจจุบัน และสารสกัดน้ำตำลึงขนาดสูง นอกจากนี้สารสกัดน้ำตำลึงขนาดสูงมีฤทธิ์เพิ่มระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับสารสกัดน้ำตำลึงขนาดต่ำ และกลุ่มที่ได้รับยาแผนปัจจุบัน clomiphene citrate ซึ่งสารสกัดน้ำตำลึงทั้งสองขนาดไม่มีผลต่อระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน และไม่มีผลต่อความหนาของมดลูกและเยื่อบุมดลูก ส่วนการศึกษาในหนูแรทที่ได้รับยา danazol พบว่าทั้งยา danazol และสารสกัดตำลึงทั้งสองขนาดลดการเจริญเติบโตของเยื่อบุมดลูกเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม จากการศึกษาในครั้งนี้สรุปได้ว่าสารสกัดน้ำของตำลึงขนาดสูง 1,000 มล./กก. มีผลช่วยให้มีการเพิ่มการฝังตัวที่มดลูกเป็นการรักษาการมีลูกยากในหนูแรทที่เหนี่ยวนำให้มีโปรแลคตินในเลืดสูงได้ โดยไปเพิ่มจำนวนครั้งการฝังตัวของมดลูก เพิ่มระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน แต่ไม่ได้ผลช่วยในการฝังตัวที่มดลูกในหนูที่เหนี่ยวนำให้เกิดภาวะ endometriosis หรือเหนี่ยวนำให้มีฮอร์โมนเพศชาย

ฤทธิ์ต้านการอักเสบ  การศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบของสารสกัดน้ำจากใบและเถาตำลึง ขนาด 50, 100และ 200 มก./กก. ในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบที่อุ้งเท้าด้วย 1% ฟอร์มาลดีไฮด์ เปรียบเทียบกับยาอินโดเมทาซิน (indomethacin) ขนาด 10 มก./กก. พบว่าสารสกัดมีฤทธิ์ต้านการอักเสบได้ โดยที่สารสกัดน้ำจากใบมีฤทธิ์ดีที่สุด เมื่อฉีดสารสกัดน้ำจากใบ ขนาด 25, 50, 100, 200 และ 300 มก./กก. เข้าทางช่องท้องของหนูแรทก่อนและหลังเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบที่อุ้งเท้าด้วยสารคาราจีแนน เปรียบเทียบผลกับยาไดโคลฟีแนค (diclofenac) ขนาด 20 มก./กก. พบว่าการให้สารสกัดก่อนเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบสามารถลดอาการบวมของอุ้งเท้าหนูได้ โดยสารสกัดที่ขนาด 50 มก./กก. จะให้ผลดีที่สุดและเทียบเท่ากับยาไดโคลฟีแนค สำหรับการให้สารสกัดหลังเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบ พบว่าสารสกัดทุกขนาด ยกเว้นขนาด 25 มก./กก. มีฤทธิ์ต้านการอักเสบได้เช่นกัน แต่มีบางงานวิจัยที่พบว่าการป้อนสารสกัดน้ำจากใบ ขนาด 1 ก./กก. ไม่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบในหนูแรท นอกจากนี้มีรายงานว่าผงน้ำคั้นจากผลสด ขนาด 50-200 มก./กก.  มีฤทธิ์ต้านการอักเสบในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบที่อุ้งเท้าด้วยสารคาราจีแนนและฮิสตามีน

          สารสกัดอัลกอฮอล์จากใบ ขนาด 1, 2.5, 10 และ 20 มก./กก.  มีฤทธิ์ต้านการอักเสบในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบที่อุ้งเท้าด้วยสารคาราจีแนนได้ แต่มีฤทธิ์น้อยกว่ายาเพรดนิโซโลน (prednisolone)  ขนาด 5 และ 10 มก./กก. และตำรับครีมที่มีสารสกัดเดียวกันนี้ผสมอยู่ 2% ไม่ทำให้เกิดอาการระคายเคืองหรือลดรอยแดงจากยุงกัดในอาสาสมัคร จำนวน 5 คน เมื่อเทียบกับครีมเบส


การศึกษาทางพิษวิทยา

การทดสอบความเป็นพิษ สารสกัด 50% เอทานอลจากทั้งต้นขนาด 10 ก./กก. ไม่ทำให้เกิดพิษเมื่อป้อนทางสายยางสู่กระเพาะอาหารหรือฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนังของหนูถีบจักร และเมื่อฉีดสารสกัดเดียวกันนี้เข้าทางช่องท้องของหนูถีบจักร พบว่าขนาดต่ำสุดที่ทำให้สัตว์ทดลองตายเป็นจำนวนครึ่งหนึ่ง (LD50) มีค่าเท่ากับ 750 มก./กก.

..............
รูปแบบ/ขนาดวิธีใช้

แก้พิษคันจากใบไม้คันหรือหนอนคัน (ตัวบุ้ง) โดยนำใบตำลึงสดสัก ๔-๕ ใบ มาขยี้ เอาน้ำชโลมหรือทาบริเวณที่คัน หรือใช้ใบสด 1 กำมือ (ใช้มากน้อยตามบริเวณที่มีอาการ) ล้างให้สะอาด ตำให้ละเอียดผสมน้ำเล็กน้อยแล้วคั้นเอาน้ำมาทาบริเวณที่มีอาการ พอน้ำแห้งแล้วทาซ้ำบ่อยๆ จนกว่าจะหาย
แก้เริม งูสวัด ให้ใช้ใบตำลึงล้างน้ำต้มสุกให้สะอาด ตำให้ละเอียด คั้นแล้วกรองเอาแต่น้ำผสมดินสอพอง สะตุ (เผาจนสุก) ทาผิวบริเวณที่เป็นให้เปียกชื้นอยู่เสมอ อาการแสบร้อนจะทุเลาลง แต่หากทาแล้วไม่รู้สึกเย็น ก็แปลว่ายาไม่ถูกโรคให้เลิกใช้
ยอด เถา ใบ และราก ตำคั้นน้ำดื่มแก้หลอดลมอักเสบ
ลิ้นเจ็บ ลิ้นเป็นแผล ให้เคี้ยวผลตำลึงอ่อนจะช่วยบรรเทาอาการเจ็บแสบจากแผลได้
ช่วยรักษาโรคเบาหวาน ด้วยการใช้เถาแก่ 1 กำมือ นำมาต้มกับน้ำหรือจะใช้น้ำคั้นจากผลดิบ นำมาดื่มวันละ 2 รอบ เช้า,เย็น จะช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด
แก้อาการวิงเวียนศีรษะ ด้วยการใช้เถาตำลึงชงกับน้ำดื่ม
แก้อาการตาแดง ตาฟาง ตาช้ำ ตาแฉะ พิษอักเสบในตา ด้วยการใช้เถาตำลึง นำน้ำต้มจากเถามาหยอดตา หรือตัดเถาเป็นท่อนยาว 2 นิ้วนำมาคลึงพอช้ำแล้วเป่า จะเกิดฟองใช้หยอดตา
แก้อาการผิดสำแดงเพราะกินของแสลง โดยใช้เถาตำลึงตัดเป็นท่อน 3-4 ท่อนโดยแต่ละท่อน ยาว 1 คืบ นำไปใส่ในหม้อดินสุมไฟ จนไหม้เป็นขี้เถ้า นำมาบดให้ละเอียดแล้วผสมกับน้ำซาวข้าวดื่มครั้งละ 1 ถ้วยชา (เถา)
ช่วยลดอาการท้องอืดท้องเฟ้อ จุกเสียดแน่นท้อง ด้วยการรับประทานใบตำลึงสด ๆ
ใช้รักษาแผลอักเสบ ด้วยการใช้ใบสดหรือรากสด นำมาตำแล้วพอกบริเวณแผล
ช่วยแก้หิด ด้วยการใช้เมล็ดตำผสมน้ำมันมะพร้าวแล้วนำมาทาบริเวณที่เป็น
................
อกสารอ้างอิง

นันทวัน บุณยะประภัศร อรนุช โชคชัยเจริญพร, บรรณาธิการ. สมุนไพรไม้พื้นบ้าน เล่ม 2. กรุงเทพฯ:บริษัท ประชาชน จำกัด, 2541:640 หน้า
เดชา ศิริภัทร.ตำลึง.ผักพื้นบ้านที่รู้คุณค่าได้จากชื่อ.คอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้า.นิตยสารหมอชาวบ้าน เล่มที่ 191.มีนาคม 2538
อรัญญา  ศรีบุศราคัม.ตำลึง.ผักสวนครัวลดเบาหวาน.รอบรู้เรื่องสมุนไพร.สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.ผักพื้นบ้าน.ความหมายและภูมิปัญญาของสามัญชนไทย.กรุงเทพฯ.โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก,2538
ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้.  ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544.  ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้ พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม).  พิมพ์ที่ บริษัทประชาชน จำกัด.  2544.
รศ.ดร.สุธาทิพ ภมรประวัติ.ผักตำลึง.อาหารสมุนไพรริมรั้ว.คอลัมน์บทความพิเศษ.นิตยสารหมอชาวบ้าน เล่มที่330.ตุลาคม2549
สุวดี แซ่เฮง โสวรส โรจน์สุธี. การหาปริมาณวิตามินเคในผักพื้นบ้าน. โครงการพิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ม. มหิดล, 2007
พร้อมจิต.ศรลัมน์.แกงเลียง.อาหารเด็ดของคนไทย.จุลสารข้อมูลสมุนไพร.คณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.ปีที่30ฉบับที่3.เมษายน2556
ผลของตำลึงต่อการตั้งครรภ์ในหนูแรทเพศเมียที่ทำให้เกิดภาวะตั้งครรภ์ยาก.ข่าวความเคลื่อนไหว.สำนักงานข้อมูลสมุนไพรคณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.
ตำลึง.ฐานข้อมูลสมุนไพรที่ใช้ในงานสาธารณสุขมูลฐาน.สำนักงานข้อมูลสมุนไพร.คณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.
เสริมเกียรติ บ้วนวงศ์ อดิศักดิ์ แซ่ลี้ เพ็ญโฉม พึ่งวิชา ยุวดี วงษ์กระจ่าง.  ฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดและบำบัดอาการเบาหวานของตำลึง.  โครงการพิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ ม. มหิดล, 1985.
ถวัลย์ จรดล บัณฑิต ธีราธร บุญเจือ ธรณินทร์.  ฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดของน้ำสกัดเถาตำลึง.  สารศิริราช 2515;24(6):934-40.
Munasinghe MAAK, Abeysena C, Yaddehige IS, Vidanapathirana T, Piyuma KPB. Blood sugar lowering effect of Coccinia grandis (L.) J. Voigt: Path for a new drug for diabetes mellitus. Experimental Diabetes Research 2011; Article ID 978762, 4 pages.
Hossain MZ, Shibib BA, Rahman R. Hypoglycemic effects of Coccinia indica: inhibition of key gluconeogenic enzyme, glucose-6-phosphatase. Indian J Exp Biol 1992;30(5):418-20.
 Singh N, Singh P, Vrat S, Misra N, Dixit KS, Kohll RP.  A study on the anti-diabetic activity of Coccinia indica in dogs.  Indian J Med Sci 1985;39:27-9, 42.
Vaishnav MM, Gupta KR. A new saponin from Coccinia indica roots. Fitoterapia 1995; 66(6):546-7
Rao GMM, Rao CV, Sudhakara M, Pandey MM, Rawat AKS, Sirwaikar A, et al.  Anti-inflam-matory and antinociceptive activities of “Coccinia indica W.&A.” fruit juice powder in animals.  Nat Prod Sci 2004;10(1):20-3.
Sungpuag P. Food sources of b-carotene and their vitamin A activity. Mahidol university annual research abstracts and bibliography of non-formal publication 1991;19:535.
Deokate UA, Khadabadi SS. Pharmacology and phytochemistry of Coccinia indica. Journal of Pharmacognosy and Phytotherapy 2011;3(11):155-9
Niazi J, Singh P, Bansal Y, Goel RK.  Anti-inflammatory, analgesic and antipyretic activity of aqueous extract of fresh leaves of Coccinia indica.  Inflammopharmacol 2009;17:239-44.
Bajpai A, Ojha JK, Sant HR. Medicobotany of the Varanasi district. Int J Pharmacog 1995;33(2):172-6.
Mueller-Oerlinghausen B, Ngamwathana W, Kanchanapee P.  Investigation into Thai medicinal plants said to cure diabetes.  J Med Ass Thailand 1971;54(2):104-11.
Bhakuni DS, Srivastava SN, Sharma VN, Kaul KN. Chemical examination of the fruits of Coccinia indica. J Sci Ind Res (India) 1962;21B:237-8.
Tangsucharit P, Kukongviriyapan V, Kukongviriyapan U, Airarat W.  Screening for analgesic and anti-inflammatory activities of extracts from local vegetables in the northeast of Thailand.  Srinagarind Med J 2006;21(4):305-10.
Anon. Treatment of diabetes mellitus with Coccinia indica. Idma Bull 1980;11:229-30.
Mallick C, Mandal S, Barik B, Bhattacharya A, Ghosh D.  Protection of testicular dysfunc-tions by MTEC, a formulated herbal drug in streptozotocin induced diabetic rat.  Biol Pharm Bull 2007;30(1):84-90.
Mukherjee K, Ghosh NC, Datta T. Coccinia indica Linn. as potential hypoglycaemic agent. Indian J Exp Biol 1972;10(9):347-9
Vaishnav MM, Jain P, Jogi SR, Gupta KR. Coccinioside-k, triterpenoid saponin from Coccinia indica. Oriental J Chem 2001;17(3):465-8.
Nagaraju N, Rao KN. A survey of plant crude drugs of Rayalaseema, Andhra pradesh, India. J Ethnopharmacol 1990;29(2):137-58
Chanwitheesuk A, Teerawutgulrag A, Rakariyatham N. Screening of antioxidant activity and antioxidant compounds of some edible plants of Thailand. Food Chem 2005; 92(3):491- 7.
Azad KAK, Akhtar S, Mahtab H.  Coccinia indica in the treatment of patients with diabetes mellitus.  Bangladesh Med Res Council Bull 1979;5(2):60-6.
Siddiqui IA, Osman SM, Sabbaram MR, Achaya KT. Fatty acid components of seed fats from four plant families. J Oil Technol Ass India 1973;5(1):8-9
Guha J, Sen SP.  The cucurbitacins-a review.  Plant Biochem J 1975;2: 127.
  Khan azad AK, Akhtar S, Mantab H.  Treatment of diabetes mellitus with Coccinia indica.  Brit Med J 1980;280:1044.
Singh G, Gupta P, Rawat P, Puri A, Bhatia G, Maurya R. Antidyslipidemic activity of polyprenol from Coccinia grandis in high-fat diet-fed hamster model. Phytomedicine 2007;14(12):792-8.
Mokkhasmit M, Swatdimongkol K, Satrawaha P.  Study on toxicity of Thai medicinal plants.  Bull Dept Med Sci 1971;12(2/4):36-65.
Leelapornpissid P, Manosroi A, Sajawatee P, Chaikul P, Nopsiri V, Manosroi J. Anti-inflam-matory activity of extract from leaves of Coccinia grandis (tum-loeng), formulation and evaluation of cream preparation containing the extract.  16th Annual Symposium of Health Science, Chiang Mai, August 1998:270.
Kumar GP, Sudheesh S, Vijayalakshmi NR. Hypoglycaemic effect of Coccinia indica: mechanism of action. Planta Med 1993;59(4):330-2.
Deshpande SV, Patil MJ, Daswadkar SC, Suralkar U, Agarwal A.  A study on anti-inflamma-tory activity of the leaf and stem extracts of Coccinia grandis L. Voigt.  IJABPT 2011;2(3): 247-50.

รากตำลึง บดหยาบเหมาะสำหรับใส่ซองชา

รากตำลึง บดหยาบ เตรียมใส่ซองชา ให้ลูกค้า
เราไม่ได้ ทำไว้ล่วงหน้า สั่งแล้วถึงทำ นั่นคือ
จะไม่มีสินค้าตกค้างสต๊อกเป็นเวลานาน ของจึงสดและใหม่เสมอ
0809898770

 💕“รากตำลึง”..ฉายา “ไวอากร้าเมืองไทย” และ “โสมไทย”
✍️บรรจุซองชา 100 ซอง 390 บาท
✍️ราคาแบบแห้ง 350 บาท/กก
✍️ราคาแบบบด 400 บาท/กก
✍️ราคา แบบแคปซูล 300 เม็ด 490บาท
(ทุกรายการ ส่งฟรี) โทร+ไลน์ 0809898770

บดหยาบๆแบบนี้ เหมาะเอาไปใส่ซองชา สำหรับพอไปดื่่ม ยังที่ต่างๆ ไม่ลัเอียดมากจนเกินไป
ทำให้ ตะกอนไม่เล็ดลอด ออกมาจากซองชา
เช้า-เย็น แต่นี้ก็ช่วยลดน้ำตาลในเลือดได้แล้ว
งานวิจัยเยอะแยะ ลองหาข้อมูลเพิ่ทเติมดู

รากตำลึงสับแบบนี้ เหมาะเอาไป ต้มดื่มกับกาน้ำไฟฟ้าและดองเหล้า

เตรียมสินค้าส่งให้ลูกค้า ที่เห็นนี่ หนักเพียง 1 กิโลเท่านั้น เพราะมันเบามาก


รากตำลึงสับแบบนี้

แบบนี้ลูกค้าสั่งเอาไป ต้มดื่มกับกาน้ำไฟฟ้า เพราะไมมีปัญหาเวลาเทมาดื่ม
และก็เอาไปดองเหล้า ควรเป็นแบบนี้
ถ้าดองเหล้า จะช่วยปรับฮอโมนและประจำเดือนของผู้หญิง ผิวพรรณเปร่งปรั่ง
ผู้ชาย บำรุง ไอ้นั่นของท่านั่นละ วันละ 1เป๊ก

 💕“รากตำลึง”..ฉายา “ไวอากร้าเมืองไทย” และ “โสมไทย”
✍️บรรจุซองชา 100 ซอง 390 บาท
✍️ราคาแบบแห้ง 350 บาท/กก
✍️ราคาแบบบด 400 บาท/กก
✍️ราคา แบบแคปซูล 300 เม็ด 490บาท
(ทุกรายการ ส่งฟรี) โทร+ไลน์ 0809898770





วันจันทร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

สมรรถภาพทางเพศเสื่อม งดไวอากร้าไปหารากตำลึงมาแทน

 💕“รากตำลึง”..ฉายา “ไวอากร้าเมืองไทย” และ “โสมไทย”
✍️บรรจุซองชา 100 ซอง 390 บาท
✍️ราคาแบบแห้ง 350 บาท/กก
✍️ราคาแบบบด 400 บาท/กก
✍️ราคา แบบแคปซูล 300 เม็ด 490บาท
(ทุกรายการ ส่งฟรี) โทร+ไลน์ 0809898770



สรรพคุณทางตัวยานั้นดิฉันและสามีลองทานมาด้วยตัวเองแล้วเห็นอาการใด้ชัดเจนมากจึงนำมาแบ่งปันค่ะ
1.บำรุงสายตา
2.แก้ปวดหลังเจ็บเอว
3.รักษาและกระชับมดลูกในสตรี
4.แก้สมรรถภาพทางเพศเสื่อมสำหรับคุณผู้ชาย
5.ปรับอารมณ์ทางร่างกายและจิตใจให้สม่ำเสมอไม่หงุดหงิดง่าย



..ส่วนประกอบมีดังนี้ค่ะ
รากตำลึงเอารากที่ฝังในดินนะคะไม่ใช่ที่เลื้อยอยู่บนดินค่ะ สำหรับรากตำลึงนั้นยิ่งมีอายุมากรากจะใหญ่มากหัวจะคล้ายโสมค่ะและสรรพคุณก็ยิ่งสูงค่ะและก็ตามด้วยน้ำผึ้งแท้และเหล้าขาวค่ะ
วิธีทำมีดังนี้ค่ะ
นำรากตำลึงที่ขุดมาล้างให้สะอาดขูดเอาผิวรอบนอกออกแล้วตากแดดให้แห้ง เมื่อตากแดดแห้งแล้วต้องทำเลยนะคะอย่าค้างใว้หลายวันให้โดนน้ำฝนเด็ดขาดเพราะจะทำให้เกิดเชื้อราและเสียประโยชน์นำมาใช้ไม่ใด้อีกแล้วต้องทิ้งไปค่ะ
นำมาหั้นเป็นท่อนใส่ในขวดแก้วขวดอะไรก็ใด้ที่มีในบ้าน ขวดโหล ขวด เหล้า ก็ใด้ค่ะ ใส่ให้เต็มขวดเลยนะคะ ตามด้วยเหล้าขาว จะใช้กี่ขวดนั้นขึ้นอยู่กับความจุของขวดค่ะตามด้วยน้ำผึ้งแท้1ช้อนโต๊ะ ไม่แนะนำให้ใส่น้ำผึ้งเยอะค่ะเพราะจะทำให้รสชาติออกมาหวานเลี่ยนเวลาทานจะทำให้แสบคอและเกิดอาการอยากอาเจียนค่ะ ใส่ให้พอเป็นยาก็พอค่ะ หลังจากนั้นดองใว้45วัน เมื่อครบกำหนดแล้วจะมีกลิ่นที่หอมกลิ่นเหล้าขาวจะหมดไป สำหรับคุณผู้หญิงแนะนำให้ดื่มแค่วันละ1เป็กในตอนเช้าขณะท้องว่าง สำหรับคุณผู้ชายแนะนำให้ดื่มวันละ2เป็กคือช่วงเช้าขณะท้องว่างและช่วงเย็นค่ะ
เมื่อทานจะรู้สึกร้อนๆในคอค่ะทานไปเรื่อยๆคุณจะเห็นผลถึงความเปลี่ยนเเปลงชัดเจนขึ้นค่ะ สามีดิฉันอายุ52ปีแล้วตอนแรก มีปัญหาทางสายตามองไม่ค่อยเห็นและปวดหลังปวดเอว เมื่อทานยาตัวนี้ไปสักพักปัจจุบันตัวหนังสือเล็กๆในนิยายอ่านใด้หมดเลยค่ะทั้งหมดที่กล่าวมานี้ดิฉันและสามีทดลองเองและใด้ผลค่ะเคยแนะนำไปหลายคนแล้ว

วันศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

สิ่งนี้ใช่ลดเบาหวานมานานนับพันปีงานวิจัยเพียบ





 💕“รากตำลึง”..ฉายา “ไวอากร้าเมืองไทย” และ “โสมไทย”
✍️บรรจุซองชา 100 ซอง 390 บาท
✍️ราคาแบบแห้ง 350 บาท/กก
✍️ราคาแบบบด 400 บาท/กก
✍️ราคา แบบแคปซูล 300 เม็ด 490บาท
(ทุกรายการ ส่งฟรี) โทร+ไลน์ 0809898770



วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

รากตำลึง ไวอากร้าเมืองไทยและโสมไทย บำรุงสายตา เสริมสมรรถภาพทางเพศ




 💕“รากตำลึง”..ฉายา “ไวอากร้าเมืองไทย” และ “โสมไทย”
✍️บรรจุซองชา 100 ซอง 390 บาท
✍️ราคาแบบแห้ง 350 บาท/กก
✍️ราคาแบบบด 400 บาท/กก
✍️ราคา แบบแคปซูล 300 เม็ด 490บาท
(ทุกรายการ ส่งฟรี) โทร+ไลน์ 0809898770

https://www.disthai.com/17105219/%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B6%E0%B8%87

วันศุกร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

รากตำลึง เถาตำลึง สายตาดี เรื่องเพศดี ร่างกายดี ต้มดื่มได้ทุกวัน หรือแบบแคปซูล



ชุดใหม่ มาแล้วจากสวนเราเองนี่ละ
เรากินสมุนไพร ต้องมั่นใจว่า ทีมาชัดเจน
ไม่ปนเปือนยาเคมีต่างๆ
รากตำลึง เถาตำลึง สายตาดี เรื่องเพศดี ร่างกายดี
ต้มดื่มได้ทุกวัน หรือแบบแคปซูล
#ผมเองเอาน้ำต้มเถาตำลึงมาใส่กาแฟกินทุกวัน
0809898770 มีขายทั้งแบบตากแห้งและแคปซูล



วันอังคารที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2562

จัดส่งวันที่ 22-10-62 จำนวน 300 แคปซูล



ราก เถา ตำลึง แบบผงละเอียด




  • แบบผงละเอียด สามารถเอาไปปั้นลูกกลอน หรือใส่แคปซูลเอง ใส่ซองชาเอง หรือใส่กาสำหรับชงชาเอง
  • ราคา ครึ่งกิโล 250 บาท ส่งฟรี
  • ราคา1 กิโล 400 บาท ส่งฟรีครีบ
  • โทร+ไลน์ 0809898770

ราก เถา ตำลึง บรรจุแคปซูล




ราคาแบบแคปซูล 
จำนวน 200 เม็ด 490 บาทรวมส่งโอนเงินเรียบร้อยครับ
จำนวน 100 เม็ด  270บาท รวมส่งโอนเงินก่อน
เก็บปลายทางเพิ่ม 50 บาทครับ
โทร+ไลน 0809898770 ครับ




















รากตำลึง จัดส่ง

 มาจากช็อปปี้